admin

โรงเรือนอีแวป ระบบอินเวอร์เตอร์ มีแล้วใช้ประโยชน์ให้เต็มประสิทธิภาพ ตอนที่1

เชื่อว่าพี่น้องผู้เลี้ยงสุกรที่มีโรงเรือนระบบอีแวป มีการควบคุมความเร็วพัดลมด้วยระบบอินเวอร์เตอร์กันเป็นส่วนใหญ่ จะมีบ้างมั้ยที่ใช้งานอย่างจริงจังเต็มประสิทธิภาพ ถ้าเราเป็นเจ้าของฟาร์มและเป็นผู้ใช้ระบบอินเวอร์เตอร์ด้วยตัวเอง แต่ยังใช้ได้ไม่ถูกต้องตามศักยภาพของระบบ ใช้บทความนี้เป็นแนวทางได้เลยครับ ถ้าเป็นนักลงทุนมีการจ้างสัตวบาลมาควบคุมก็สามารถใช้บทความนี้ตรวจสอบความรู้ความเข้าใจของน้องๆสัตบาลว่าอยู่ในระดับไหนและเพิ่มพูนความรู้ความสามารถให้ใช้งานได้เต็มประสิทธิภาพตามที่ผู้ลงทุนได้ลงทุนอุปกรณ์ไว้แล้ว เครดิตเนื้อหา ขอขอบคุณ : CPF Feed Solution สามารถอ่านข้อมูลเพิ่มเติม คลิก!

โรงเรือนอีแวป ระบบอินเวอร์เตอร์ มีแล้วใช้ประโยชน์ให้เต็มประสิทธิภาพ ตอนที่1 Read More »

เครื่องบดประสิทธิภาพสูง

เครื่องบดประสิทธิภาพสูง ทรงพลัง แต่ประหยัดพลังงานจาก Stolz ที่สามารถแยก และกำจัดเศษหิน เศษเหล็กที่ปะปนอยู่ในวัตถุดิบของท่านได้อย่างอัตโนมัติ กำลังการผลิตดี สามารถเปลี่ยนตะแกรงได้โดยไม่ต้องหยุดมอเตอร์ ทำให้ไม่ต้องสตาร์ทเครื่องใหม่ FEATURES Two-way direction of rotation up to 3600 rpm Effective screening area from 0.45 to 2.20 m² Quick change of hammers by tilting Change of screens during operations Continuous control of bearings and grinding chamber temperatures Adjustable feeding flap Grinding chamber fitted with grooved armor

เครื่องบดประสิทธิภาพสูง Read More »

โรงเรือนสำเร็จรูป Knockdown

โรงเรือนสำเร็จรูป Design Knockdown จาก KPI โรงเรือนระบบปิด ก่อสร้างตามระบบ Biosecurity และ Animal Welfare ออกแบบอย่างมืออาชีพ ตอบโจทย์ความต้องการ ภายใต้มาตรฐานระดับสากล ✔️ แข็งแรง ✔️ ทนทาน ✔️ ติดตั้งง่าย ช่วยให้คุณประหยัดเวลาในการติดตั้ง เพิ่มคุณภาพงาน ลดค่าแรง งบประมาณไม่บานปลาย 👍🏼ให้บริการครอบคลุมทั้งในและต่างประเทศ 👍🏼 ดูแลการกระบวนการส่งออกต่างประเทศ โดยทีมงานผู้ชำนาญการ 👍🏼พร้อมวิศวกร ควบคุมงาน และการก่อสร้าง KPI ที่เดียวจบ ครบทุกเรื่องโรงเรือนสำเร็จรูป สนใจสินค้า และผลิตภัณฑ์ : Tel : 02-8176410 Email : ks*@ks*.th

โรงเรือนสำเร็จรูป Knockdown Read More »

การระบายอากาศในถังไซโลสำคัญอย่างไร

A: ทำไมต้องมีการระบายอากาศในถังไซโล? B: เพราะว่าเมล็ดวัตถุดิบที่จัดเก็บเช่น ข้าวโพด ข้าวเปลือก ถั่วยังมีชีวิตและมีความสามารถในการหายใจ คายน้ำ ถ้านำไปปลูกก็ยังสามารถที่จะเจริญเติบโตได้ นอกจากนี้การระบายอากาศในถังไซโลยังช่วยในการป้องกัน มอด เชื้อรา ที่เกิดจากความร้อนและความชื้น A: เหตุผลที่ต้องระบายอากาศในถังไซโล? B: เหตุผลที่ต้องระบายอากาศในถังไซโล ก็เพื่อให้วัตถุดิบอยู่ในสภาพแห้ง ตามเงื่อนไขที่ต้องการ เพื่อให้ไม่มีเชื้อรา และแมลงที่จะเจริญเติบโต เพื่อให้จัดการความชื้นคงที่ จัดการเรื่องอุณหภูมิให้สม่ำเสมอ และทำให้เกิดประสิทธิภาพในการจัดเก็บสูงสุด แต่ทั้งนี้ การระบายอากาศของวัตถุดิบในถังไซโลนั้น ไม่ได้ทำให้คุณสมบัติของเมล็ดวัตถุดิบดีขึ้นกว่าเดิม แต่จะช่วยทำให้คุณสมบัติของเมล็ดวัตถุดิบที่เป็นอยู่ยังรักษาสภาพให้ยาวนานขึ้น A: เมื่อใดจึงต้องระบายอากาศภายในถังไซโล? B: เมื่อต้องการปรับอุณหภูมิ ภายใน / ภายนอก ไม่ให้แตกต่างกันมาก หรือปรับให้เท่ากัน (5-9 องศา) เมื่อเกิด Hot Spot ภายในถังไซโล A: วัตถุประสงค์ของการระบายอากาศภายในถังไซโล? B: เพื่อรักษายูนิฟอร์มของเมล็ดข้าวโพดให้มีอุณหภูมิโดยเฉลี่ยอยู่ในช่วง +/- 2° ถึง 5° C ระหว่าง กลางวัน/กลางคืน ในช่วง

การระบายอากาศในถังไซโลสำคัญอย่างไร Read More »

ไซโล (SILO) คืออะไร

หากพูดถึง Feed mill หรือโรงงานผลิตอาหารสัตว์แล้ว คงไม่พูดถึงไซโลไม่ได้ เพราะไซโลถือเป็นหัวใจสำคัญในการสร้างโรงงานผลิตอาหารสัตว์ วันนี้เรามาทำความรู้จักไซโลว่าคืออะไร และมีหน้าที่การทำงานอย่างไร  “ไซโล” ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 หมายถึง “สิ่งก่อสร้างขนาดใหญ่ ทำจากวัสดุที่แข็งแรง ทนทาน ภายในมีระบบกันชื้นและระบายอากาศ สำหรับเก็บผลผลิตการเกษตรไว้ชั่วคราวก่อนส่งออก” หากอธิบายให้ง่ายขึ้น ไซโล คือ ถังขนาดใหญ่ใช้บรรจุธัญพืช เช่น ข้าวโพด มันสำปะหลัง แป้ง รำข้าว เป็นต้น โดยในการเก็บวัตถุดิบปริมาณมากเช่นนี้ต้องมีการควบคุมสภาพการเก็บรักษา เช่น อุณหภูมิ และการควบคุมความชื้นให้อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสม เพื่อควบคุมความชื้นไม่ให้วัตถุดิบเสียหาย โดยมีการติดตั้งเครื่องลดความชื้น (grain dryer) ภายในไซโล เพื่อป้องกันเชื้อรา และ จุลินทรีย์ที่อาจก่อให้เกิดโรค โดยส่วนใหญ่ไซโลมีลักษณะเป็นถังทรงกลมขนาดใหญ่และมักทำจากสแตนเลส หรือเหล็กชุบ Galvanized  รูปแบบของไซโล มี 2 แบบคือไซโลแบบกรวย (hopper silo) และไซโลแบบก้นเรียบ (flat silo) ทั้งไซโลทั้งสองแบบมีหลักการทำงานคล้ายกัน และจะมีสายพาน (conveyor)

ไซโล (SILO) คืออะไร Read More »

เลื่อนไปด้านบน